Page 106 - ANNUAL REPORT 2016
P. 106

บุคคลทุกฝาย และที่จะขาดไมไดคือ ความสุข
                                  ของทุกคน เนื่องจากคำวา “องคกรสุขภาวะ”
                                  มีลักษณะเปนนามธรรม การอธิบายจึงตอง
                                  เชื่อมโยงสูชีวิตของคนที่ทำงานเกี่ยวของกัน
                                  ในองคการ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558)

                                        วัตถุประสงค
                                        • เพื่อศึกษาชีวประวัติของผูมีสวน

                                         สำคัญในการริเริ่มแนวคิดองคกร
                                         สุขภาวะ
                                        • เพื่อศึกษาที่มาของแนวคิดองคกร                                                                                         PMAT รวมกับสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ชมรมนักบริหารงานบุคคล
                                         สุขภาวะ                                                                                                                 เชียงใหม  ชมรมผูบริหารบุคคลโรงแรม ชมรมนักบริหารทรัพยากรมนุษยภาคเหนือ ชมรมนักบริหาร
                                        การออกแบบการวิจัย                                                                                                        งานทรัพยากรมนุษยจังหวัดลำพูน จัดสัมมนาเผยแพร ใหความรูเกี่ยวกับ มาตรฐานวิชาชีพ HR ในวันศุกร
                                        วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ,กระบวนทัศนการวิจัยแบบสรรคสรางนิยม ,การศึกษาแบบบรรยาย (Narrative approach)                     ที่ 18 มีนาคม 2559 หองทองกวาว สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
                                  หรือชีวประวัติ (Biography)

                                        ผูใหขอมูลหลัก
                                        นายแพทยชาญวิทย วสันตธนารัตน  โดยสัมภาษณแบบเจาะลึก

                                        การวิเคราะหขอมูล
                                        วิเคราะหภาพรวมของเรื่องราวชีวิต (Holistic-content perspective), วิเคราะหตามประเภทของเนื้อหา (Categorical-
                                  content perspective)
                                        ผลการวิจัย
                                        ชีวประวัติของผูมีสวนสำคัญในการริเริ่ม HWP, ที่มาของแนวคิดองคกรสุขภาวะและ Happy 8

                                        ประโยชนที่ไดรับ
                                        เกิดการจัดการความรูและมีขอมูลเชิงประจักษ สถานประกอบการเขาใจใน HWP มากขึ้น
                                                                                                                                                                 PMAT รวมกับสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน) สมาคมบริหารงานบุคคลภาคตะวันออก และ
                                                                                                                                                                 มหาวิทยาลัยบูรพา จัดสัมมนาเผยแพร ใหความรูเกี่ยวกับ มาตรฐานวิชาชีพ HR ในวันศุกรที่ 4 มีนาคม
                                  6. โครงการ HR Competency & Accreditation Projects
                                                                                                                                                                 2559 ณ โรงแรมบางแสนเฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี
                                        HR Competency & Accreditation Projects เปนการยกระดับสมรรถนะของนักบริหารงานบุคคล เปนการผสานพลัง
                                  ระหวาง PMAT และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ องคการมหาชน (TPQI) เพื่อศึกษามาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพบริหารงาน
                                  บุคคล ตลอดจนพัฒนาเครื่องมือในการประเมินสมรรถนะวิชาชีพ นักบริหารงานบุคคล
                                        โดยการศึกษาสมรรถนะวิชาชีพ (Competency – Based Assessment) ที่เหมาะสม เปนไปตามหลักการประเมิน

                                  สมรรถนะวิชาชีพที่ดี อันประกอบดวย ความเปนธรรม ความเที่ยงตรง การมีความเชื่อมั่น และ มีความสามารถที่จะปฏิบัติได
                                        การประเมินมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพเปนมากกวา การประเมินความรู แตยังประเมินทักษะและความ
                                  เชี่ยวชาญหลายดานที่เกิดจากการเรียนรูดวยการปฏิบัติงานจริง จึงเปนการประยุกตใชความรู ทักษะ และความสามารถในการ
                                  ประกอบอาชีพ
                                        การศึกษาสามารถสำเร็จลุลวงดวยดี ดวยความรวมมือจากพันธมิตรสำคัญของสมาคมฯ ประกอบดวย ผูรูและนักปฏิบัติ
                                  ในวิชาชีพ ผูทรงคุณวุฒิในสถานศึกษา บุคลากรในวิชาชีพ                                                                            PMAT รวมกับสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องคการมหาชน) ชมรมบริหารงานบุคคลจังหวัดภูเก็ต จัดสัมมนา
                                                                                                                                                                 ในหัวขอ “สรางศักยภาพการแขงขันขององคกรดวยระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพ” ในวันศุกร

                                                                                                                                                                 ที่ 11 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมเพิรล จังหวัดภูเก็ต


                                  92    รายงานประจำป : Annual Report 2016                                                                                                                    สมาคมการจัดการงานบุคคลแหงประเทศไทย : Personnel Management Association of Thailand  93
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111