Page 100 - ANNUAL REPORT 2016
P. 100

ฝายรางวัลนวัตกรรมการบริหารงานบุคคล ไดตระหนักถึงความสำคัญของเสนทางการนำพาองคการไปสูความยั่งยืน                   ใหนายจางและลูกจางพบเจอกันหรือจับคูกัน และ 9) ปรัชญาการบริหารงานบุคคล เปนคนกลางระหวางนายจางกับลูกจาง
                                 และการเปนองคการสมรรถนะสูง (High Performance Organization) เปนหนาที่สำคัญของนักบริหารทรัพยากรมนุษย โดย                 ใหอยูดวยกันไดอยางมีความสุข อันจะสงผลใหเกิดความสงบสุขในองคการ
                                 ผานกลไกและเครื่องมืออันหลากหลาย และที่สำคัญก็คือ การสรางนวัตกรรมในงานดานการบริหารและพัฒนาทรัพยากร
                                 มนุษย (HRM & HRD) เพื่อประโยชนตอองคการ บุคลากรในองคการที่จะไดรับบริการจากงาน การบริหารและพัฒนา                             5.2 โครงการวิจัย "HR Readiness for AEC "

                                 ทรัพยากรมนุษยที่ดีขึ้น ใหเปนการยกระดับงาน HR เปนที่นาเชื่อถือ ไววางใจจากผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) ดังนั้น   กรอบแนวคิด
                                 สมาคมฯ จึงไดเล็งเห็นถึงความสำคัญในการสนับสนุนสงเสริมใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมดานงาน HR อยางเปนระบบและ                         กรอบแนวคิดโครงการดำเนินงานเพื่อการตรวจประเมินความพรอมขององคกร เพื่อวิเคราะหขอมูลในภาพรวมและ
                                 ตอเนื่อง จึงจัดใหมีโครงการรางวัลนวัตกรรมการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย (HR Innovation Award)                            จำแนกตามปจจัยตางๆ เพื่อเปรียบเทียบ ตลอดจนใหสรุปผลประเมินในแตละองคกรเพื่อใหคำปรึกษาเบื้องตนแกองคกร
                                                                                                                                                            แสดงรูปกรอบแนวคิดตามภาพดานลาง


                                 5. โครงการวิจัย วารสารวิชาการ และหนังสือครบรอบ 50 ป สมาคมฯ
                                    HR Research & Academic Project                                                                                                          ตรวจประเมิน
                                                                                                                                                                             ความพรอม
                                       5.1 โครงการ “50 ป สมาคมการจัดการงานบุคคลแหงประเทศไทย: ปฐมบทการบริหารงานบุคคลภาคเอกชนไทย”                                             องคกร
                                       การวิจัยนี้เปนการศึกษาปฐมบทการบริหารงานบุคคลภาคเอกชนไทย โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาบริบทการบริหาร
                                 บุคคลของภาคเอกชนไทยในยุคแรกของการกอตั้งสมาคมการจัดการงานบุคคลแหงประเทศไทยและสรางรูปแบบปฐมบท
                                 การบริหารงานบุคคลในภาคเอกชนไทย โดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ภายใตปรัชญานำทางการ                                 ตรวจประเมิน
                                                                                                                                                                                ดวย
                                 วิจัยแบบสรางสรรคนิยม (Constructivism) ยุทธศาสตรการวิจัยเพื่อสรางทฤษฎี (Grounded Theory) กลุมตัวอยาง คือ ผูให                        Go! GO! AEC
                                 ขอมูลหลัก ประกอบดวย ผูที่ทำงานดานบริหารงานบุคคลในภาคเอกชนไทยในชวงป พ.ศ. 2508-2517 และผูมีสวนเกี่ยวของ                 ใหคำปรึกษา                วิเคราะห
                                 จำนวน 50 คน โดยใชวิธีการสุมตัวอยางเชิงทฤษฎี (Theoretical Sampling) ตามดวยการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive               เบื้องตนแก             ขอมูลในภาพรวม
                                                                                                                                                                                           และจำแนก
                                 Sampling) และแบบแนะนำตอ (Snowball Sampling) การเก็บรวบรวมขอมูลคณะผูวิจัยดำเนินการจัดตั้งทีมวิจัยออกเปน                       องคกร                  ตามรายกลุม
                                 4 ทีม โดยแตละทีมจะสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ตามแนวสัมภาษณที่ไดพัฒนาขึ้น ระหวางที่ดำเนินการสัมภาษณ

                                 คณะผูวิจัยใชการสังเกตอยางไมมีสวนรวม โดยการบันทึกบริบทที่เกี่ยวของกับผูใหขอมูลไปพรอมๆ กับการสัมภาษณ การ
                                 ตรวจสอบความนาเชื่อถือในการวิจัยเชิงคุณภาพนี้ โดยการตรวจสอบแบบรอบทิศ (Triangulation) การตรวจสอบโดยผูทรง
                                 คุณวุฒิ (Peer Debriefing) การตรวจสอบโดยเพื่อนรวมวิจัย (Member Checking) และรองรอยในการตรวจสอบ (Audit Trail)
                                 การวิเคราะหขอมูลไดประยุกตใชขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลตามแนวคิดของ Creswell (2009, 2013) ใชโปรแกรมการ
                                 วิเคราะหขอมูลงานวิจัยเชิงคุณภาพ ATLAS.ti รุน 7.1 เพื่อแยกประเภทขอมูล และเชื่อมโยงความสัมพันธของขอมูล และชวย
                                 ในการจัดการขอมูลอยางเปนระบบไดดี

                                 ผลการวิจัย
                                       ผลการวิจัยพบหัวขอหลักของบริบทการบริหารงานบุคคลภาคเอกชนไทยในยุคแรก จำนวน 9 หัวขอ ไดแก (1) กฎหมาย
                                 และการบริหารแรงงานสัมพันธ (2) การฝกอบรมและพัฒนา (3) การธำรงรักษาคน (4) การสรรหาและคัดเลือก (5) โครงสราง
                                 หนวยงานบุคคล (6) บทบาทของนักบริหารงานบุคคล (7) รูปแบบการบริหารงานบุคคล (8) สภาพแวดลอมภายนอก และ (9)
                                 แหลงที่มาของความรูดานการบริหารงานบุคคล และทีม
                                       คณะผูวิจัยไดนำขอคนพบมาเทียบเคียงกับทฤษฎีระบบและสรางรูปแบบการบริหารงานบุคคลของภาคเอกชนไทย
                                 ในยุคแรก หรือ พอสื่อโมเดลขึ้น ประกอบดวย กระบวนการบริหารคน 9 กระบวนการสำคัญ ไดแก 1) การสรรหาและคัดเลือก

                                 ใชระบบอุปถัมภ สรรหาจากญาติพี่นองและคนรูจักเปนหลัก 2) การฝกอบรม ใชวิธีการหัวหนาเปนผูสอนงาน ถายทอดความรู
                                 จากหัวหนางาน 3) การบริหารคาจางและสวัสดิการ ใชระบบตามใจเถาแก หรือเจาของกิจการพึงพอใจ 4) การประเมินผลงาน
                                 ใชระบบตามใจเถาแก หรือเจาของกิจการพึงพอใจ 5) การแรงงานสัมพันธ ใชระบบตามใจเถาแก ไมปฏิบัติตามกฎหมาย
                                 แรงงาน 6) การสื่อสารในองคการ เปนการสื่อสารผานพอสื่อซึ่งหมายถึงนักบริหารงานบุคคลยุคนั้น 7) การบริหารงานบุคคล
                                 เนนรักษาสถานภาพ ทำงานรวมกันได มีปญหาใหนอยที่สุด ทำตามสั่ง ฟงเจานาย 8) กลยุทธงานบุคคล เปน “พอสื่อ”


                                  86    รายงานประจำป : Annual Report 2016                                                                                                                    สมาคมการจัดการงานบุคคลแหงประเทศไทย : Personnel Management Association of Thailand  87
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105